วันอังคารที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2555

Antoine de Saint-Exupéry


Antoine de Saint-Exupéry Author profile




born :June 29, 1900 in Lyon, France
diedJuly:31, 1944
gender: male
website: http://www.antoinedesaintexupery.com/
genre: Philosophy, Children's Books, Nonfiction

About this author edit data:
Antoine de Saint-Exupéry was born in Lyons on June 29, 1900. He flew for the first time at the age of twelve, at the Ambérieu airfield, and it was then that he became determined to be a pilot. He kept that ambition even after moving to a school in Switzerland and while spending summer vacations at the family's château at Saint-Maurice-de-Rémens, in eastern France. (The house at Saint-Maurice appears again and again in Saint-Exupéry's writing.)

Later, in Paris, he failed the entrance exams for the French naval academy and, instead, enrolled at the prestigious art school l'Ecole des Beaux-Arts. In 1921 Saint-Exupéry began serving in the military, and was stationed in Strasbourg. There he learned to be a pilot, and his career path was forever s...more


“VIE ET DESTIN DES PILOTES DE GUERRE - CLAUDE CARLIER


L’ouvrage de Claude Carlier, Vie et destin des pilotes de guerre, rappelle le courage, l’héroïsme et l’abnégation des pilotes de l’Armée de l’Air française face à la redoutable Luftwaffe allemande, de l’entrée en guerre, le 3 septembre 1939, à l’armistice du 25 juin 1940. Dès le début du conflit, alors que l’attentisme sévit sur terre et sur mer, elle doit assurer des missions de reconnaissance et de chasse au-dessus du territoire ennemi au cours desquelles elle prend l’ascendant sur son adversaire. Lors de l’attaque du 10 mai 1940, elle s’efforce de faire face avec des matériels de moindre qualité, mais avec détermination, dans des missions de sacrifice. Alors que s’affirme la puissance allemande au sol, l’armée de l’air française tient tête dans les airs détruisant en combat aérien plus d’appareils qu’elle n’en perd.
Co-édition Gallimard – DMPA (Direction de la Mémoire, du Patrimoine et des Archives)
 
L’ouvrage de Claude Carlier est riche d’une iconographie inédite issue du fonds du Service Historique de la Défense. Il montre le quotidien des pilotes au sol, la mobilisation industrielle, la préparation des pilotes, ainsi que certaines pièces du dossier militaire d’Antoine de Saint-Exupéry et le Journal de marche du Groupe de Grande Reconnaissance II/33, auquel il est rattaché.
Un chapitre est consacré à Saint-Exupéry, auteur de Pilote de guerre, dont l’engagement singulier reste dans les mémoires comme un pilote emblématique et exemplaire. Cette publication est aussi l’occasion de célébrer les 70 ans de Pilote de guerre chez Gallimard en novembre 1942, interdit quelques mois plus tard par les forces d’Occupation et qui fait de cette œuvre un des premiers textes en prose de résistance.

Dès la déclaration de guerre, l’armée de l’air effectue des missions de reconnaissance et de largage de tracts sur l’Allemagne et, parallèlement, doit faire face aux avions de reconnaissance de la Luftwaffe ainsi qu’à leurs chasseurs d’escorte.
Les premiers engagements montrent les limites des appareils français. Les avions de chasse, à l’exception du Dewoitine D-520, sont surclassés par les Messerschmitt 109. Ils ont tous une vitesse inférieure, un armement plus faible et une dotation en munitions moins importante. Toutefois la supériorité allemande n’est pas flagrante, la « drôle de guerre » se termine par une légère suprématie française. L’attaque du 10 mai 1940 change la situation. Les opérations de la Luftwaffe contre la France sont massives et coordonnées avec l’armée de terre en une guerre éclair.
Alors que ses bases aériennes du Nord et du Nord-Est sont attaquées, les pilotes de l’armée de l’air doivent affronter la chasse allemande, mener des opérations de bombardement pour soutenir les unités terrestres et effectuer des missions de reconnaissances.
 
« Nous sommes fin mai, en pleine retraite, en plein désastre. On sacrifie les équipages comme on jetterait des verres d’eau dans un incendie de forêt. Comment pèserait-on les risques quand tout s'écroule ? En trois semaines, nous avons perdu dix-sept équipages sur vingt-trois. Nous avons fondu comme une cire. Nous savons bien que l’on ne peut faire autrement que de nous jeter dans le brasier, si même le geste est inutile. Nous sommes cinquante, pour toute la France. Sur nos épaules repose toute la stratégie de l’armée française ! »
« En somme je fais mon métier. Je n’éprouve rien d’autre que le plaisir physique d’actes nourris de sens qui se suffisent à eux-mêmes. Je n’éprouve ni le sentiment d’un grand danger (j’étais autrement inquiet en m’habillant), ni le sentiment d’un grand devoir. Le combat entre l’Occident et le nazisme devient, cette fois-ci, à l’échelle de mes actes, une action sur des manettes, des leviers et des robinets. C’est bien ainsi. »
 
Antoine de Saint-Exupéry, Pilote de Guerre, 1942

Chapitre 1 : La vie quotidienne dans la « Drôle de guerre »
Chapitre 2 : La mobilisation industrielle
Chapitre 3 : La préparation des avions de combat
Chapitre 4 : Avant de décoller
Chapitre 5 : En vol
Chapitre 6 : Antoine de Saint-Exupéry, un engagement singulier, par Delphine Lacroix

Claude Carlier, Vie et destin des pilotes de guerre
Co-édition Gallimard – DMPA (Direction de la Mémoire, du Patrimoine et des Archives)
145 pages - 150 illustrations originales. 35 € - ISBN 978-2-070-3527-1.
Parution : 4 novembre 2011

Louis Lumière

Louis Lumière




AKA Louis Jean Lumière
Born: 5-Oct-1864
Birthplace: Besa
ncon, France
Died: 6-Jun-1948
Location of death: Bandol, France
Cause of death: unspecified
Remains: Buried, Cimètiere de la Guillotière, Lyon, France

Gender: Male
Race or Ethnicity: White
Sexual orientation: Straight
Occupation: Inventor

Nationality: France
Executive summary: Inventor of motion pictures

His father, Antoine Lumière (1840-1911), was a painter of portraits who had a studio in Besançon, and added the relatively new technique called photography to his services in 1861. At this shop in 1882 Louis Lumière and his brother Auguste developed a new apparatus for the mechanized production of photographic gelatin dry-plates, which had been introduced several years earlier, eliminating the need for plates to be stored in a darkroom before and after exposure. The Lumières' method of mass-producing these dry-plates made the hobby and profession of picture-taking far more convenient, and transformed the brothers' business from a struggling shop into a minor industrial concern. By 1900 Lumière & Sons was one of Europe's largest photographic firms.
In 1894, their father returned from a trip to America excited about a new technology he had seen demonstrated,Thomas Edison's kinetoscope, and the elder Lumière's impassioned description of the device inspired his sons' imagination. Kinetoscopes, however, could only be viewed by one person at a time, by peering through a peephole into a mechanized box. Louis Lumière envisioned something different -- a projected image that could be shared by an audience, in the same way that audiences share a play. With his brother's assistance, Lumière designed the Cinematograph, a self-contained camera and projector which used a clawed-gear to advance sprocketed film, a principle used in movie cameras and projectors for more than a century since. The machine was constructed by their colleague, engineer Charles Moisson, and was lightweight enough to be effectively portable, allowing the capture of motion at almost any location.
The Cinematograph was patented in both brothers' names on 13 February 1895, though Auguste Lumière generally conceded that his brother was its primary inventor. It was the first apparatus for making and showing films to audiences in a way that would be recognizable today as "going to the movies", and the Lumière brothers are often credited as inventors of the motion picture. They presented the first public screening of a movie, La Sortie des Usines Lumière (Workers Leaving the Lumière Factory), at the Société d'Encouragement de l'Industrie Nationale in Paris on 22 March 1895. Nine months later, on 28 December 1895, they held the first motion picture exhibition for a paying audience, presenting a twenty-minute program of ten of their short films (though the adjective "short" was not yet applicable) in a rented room at the Grand Cafe on Boulevard des Capucines in Paris. According to legend, when a clip of a train advancing toward the camera and crowd was projected on the screen, men screamed, women fainted, and much of the audience ran toward the back of the auditorium.
The Lumières, however, saw motion pictures more as a curiosity than a business venture, and they withdrew from motion picture production in about 1901, as other technology soon superseded the Cinematograph. They continued in the photography business with great success, however, introducing the popular Autochrome system of color photography in 1904, and the Lumière brand remained a stalwart of European photography for decades. After Auguste Lumière stepped away from the business in 1910, Louis Lumière introduced a stereoscopic photography system in 1920, and a three-dimensional motion picture system in 1930. In a fitting coincidence, their surname, Lumière, translates to English as the word "light".
Father: Claude Antoine Lumière (artist/photographer, b. 13-Mar-1840, d. 15-Apr-1911)
Mother: Jeanne Joséphine Costille Lumière (b. 29-Jul-1841, m. 1861, d. 20-Dec-1915)
Brother: Auguste Marie Nicolas Lumière b. 19-Oct-1862 Besancon, France, d. 10-Apr-1954 Lyon, France
Sister: Jeanne Claudine Odette Lumière Koehler (b. 2-Apr-1870, d. 24-Oct-1926)
Sister: Juliette Lumière Winckler Gélibert (b. 30-Sep-1873, d. 25-Jan-1924)
Sister: Francine Lumière Winckler ("France", b. 18-Sep-1882, d. 3-May-1924)
Brother: Edouard Lumière (b. 18-Nov-1884, d. 17-Apr-1917 World War I)
Wife: Jeanne Rose Léonie Winckler Lumière (b. 3-Oct-1868, m. 2-Feb-1893, d. 21-Oct-1925, three children)
Daughter: Marguerite Jeanne Suzanne Lumière Trarieux (b. 15-Sep-1894, d. 24-Dec-1973)
Son: Jean Lumière (b. 1898, d. 1898 stillborn)
Daughter: Albertine Louise Yvonne Lumière (b. 28-Apr-1907, d. 4-Apr-1993)


High School: La Martinière Technical High School, Lyon, France (1880)
  French Academy of Sciences 1919
  French Legion of Honor
  Hollywood Walk of Fame 1529 Vine Street (motion pictures)
  Royal Photographic Society
  French Ancestry
  Asteroid Namesake 775 Lumi่re (named for both brothers)






วันจันทร์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2555

L'Unien europeènne

Il y a 27 pays dons l'Union !

1. La France - Paris
2. La Grèce - Athènes
3. La  tchèque - Prague
4. Chypre - Nicosie
5. Le Danemark - Copenhague
6. Le Pays-Bas - Amsterdam
7. La Bulgarie - Sofia
8. La Belgique - Bruxelles
9. Le Portugal - Lisbonne
10. La Pologne - Varsovie
11. La Finlande - Helsinki
12. Le Malte la - Valette
13. L'Allemagne - Berlin
14. La Roumanie - Bucarest
15. La Lettonie - Riga
16. La Lituanie - Vilnius
17. Le Luxembourg - Luxembourg
18. La Suède - Stockholm
19. L'Irlande - Dublin
20. L'Espagne - Madrid
21. La Slovaque - Bratislava
22. La Slovénie - Ljubljana
23. L'Autriche - Vienne
24. L'Italie - Rome
25. L'Estonie - Tallinn
26. La Hongrie - Budapest
27. Le Royaume-Uni - Londres



ทวีปยุโรป
    ทวีปยุโรป เป็นทวีปที่อยู่บนผืนแผ่นดินเดียวกับทวีปเอเชีย มีลักษณะคล้ายกับเป็นคาบสมุทรใหญ่ของทวีปเอเชียว จึงมีผู้เรียกทวีปยุโรป และเอเชียรวมกันว่า “ยูเรเซีย” พรมแดนธรรมชาติที่ใช้เป็นแนวแบ่งทวีปยุโรปกับทวีเอเชียออกจากกัน คือ แนว เทือกเขาอูราลและแม่น้ำอูราล
    ที่ตั้ง ทวีปยุโรปตั้งอยู่ระหว่างละติจูดประมาณ 36 องศาเหนือ ถึง 71 องศาเหนือ และลองจิจูดประมาณ 9 องศาตะวันตก ถึง ลองจิจูดประมาณ 66 องศาตะวันออก กล่าวคือ ทวีปยุโรป มีพื้นที่ทั้งหมดอยู่เหนือเส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์ (ละติจูดที่ 23 ½ องศาเหนือ) ซึ่งอยู่ในเขตอากาศอบอุ่นเหนือเกือบทั้งหมดยกเว้นตอนเหนือสุดของทวีปเท่านั้นที่อยู่ในเขตอากาศหนาวเหนือ
    ขนาด ทวีปยุโรป มีพื้นที่ประมาณ 10 ล้านตารางกิโลเมตร มีขนาดใหญ่เป็นลำดับที่ 6 ของโลก รองจากทวีปเอเชีย แอฟริกา อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ แอนตาร์กติกา แต่ใหญ่กว่าออสเตรเลีย
อาณาเขตติดต่อ มีดังนี้
ทิศเหนือ    ติดต่อกับมหาสมุทรอาร์กติก และมีทะลต่าง ๆ ได้แก่ ทะเลขาว ทะเลแบเรนต์ส น่านน้ำเหล่านี้มีความสำคัญทางเศรษฐกิจน้อยมาก เพราะในฤดูหนาวจะปกคลุมไปด้วยน้ำแข็ง ใช้เดินเรือไม่ได้ คาบสมุทรสำคัญด้านนี้ ได้แก่ คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย คาบสมุทรจัตแลนด์
ทิศตะวันออก    ติดต่อเป็นผืนแผ่นดนเดียวกันกับทวีปเอเชีย โดยมีเทือกเขาอูราลแม่น้ำอูราล และทะเลสาบแคสเปียนเป็นแนวพรมแดน
ทิศตะวันตก    ติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก มีทะเลต่าง ๆ ได้แก่ ทะเลนอร์วิเจียน ทะเลเหนือ ทะเลไอริช และทะเลบอลติก เกาะสำคัญทางด้านนี้ ได้แก่ เกาะบริเตนใหญ่ เกาะไอร์แลนด์ และเกาะไอซ์แลนด์
    ทวีปยุโรปเป็นทวีปที่มีชายฝั่งทะเลที่ยาวที่สุดในโลก ทั้งนี้เพราะความเว้าแหว่งของชายฝั่งทะเลมีมากนั่นเอง และยังทำให้มีคาบสมุทรหลายแห่ง ได้แก่ คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศนอร์เวย์และสวีเดิน คาบสมุทรจัดแลนด์เป็นที่ตั้งของประเทศเดนมาร์ก คาบสมุทรไอบีเรียเป็นที่ตั้งของประเทศสเปนและโปรตุเกส คาบสมุทรอิตาลี เป็นที่ตั้งของประเทศอิตาลี คาบสมุทรบอลข่าน เป็นที่ตั้งของประเทศอดีตยูโกสลาเวีย แอลเบเนีย โรมาเนีย บัลแกเรีย แอลกรีซ (สาธารณรัฐเฮเลนิก) คาบสมุทรไครเมียในประเทศยูเครน
    ลักษณะภูมิประเทศ แบ่งออกเป็น 4 เขต ดังนี้
1. เขตหินเก่าภาคตะวันตกเฉียงเหนือ เขตนี้มีเทือกเขาที่มีอายุเก่าแก่ เช่น เชอเลน ในคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย , แกรมเบียน ในสกอตแลนด์ และมีชายฝั่งที่เว้าแหว่งมากเป็นอ่าวแคบ ๆ มีน้ำลึก สองฝั่งเป็นหน้าผาสูงชัน เรียกว่า ฟยอร์ด ซึ่งเกิดจากธารน้ำแข็งกัดเซาะ ได้แก่บริเวณชายฝั่งตะวันตกของประเทศนอร์เวย์ และแคว้นสกอตแลนด์ ของสหรราชอาณาจักร
2. เขตที่ราบใหญ่ภาคกลาง (ที่ราบใหญ่ยุโรป) เป็นเขตที่มีความสำคัญทางด้านเกษตรกรรมมาก มีประชากรหนาแน่น ทั้งนี้เพราะ การคมนาคมขนส่งสะดวกมีแม่น้ำไหลผ่านหลายสาย ได้แก่ไรน์ (แม่น้ำถ่านหิน/แม่น้ำนานาชาติ) เอลเบลัว เซน เป็นต้น บริเวณชายฝั่งทะเลบอลติทางตอนใต้ของประเทศนอร์เวย์ สวีเดน ผินแลนด์ เป็นหินเปลือกโลกที่มีอายุเก่าแก่ที่สุด เรียกว่า บอลติกชีลด์
3. เขตที่ราบสูงภาคกลาง อยู่ระหว่างเขตที่ราบใหญ่ภาคกลางกับเขตเทือกเขาสูงภาคใต้ ของทวีป ที่ราบสูงสำคัญได้แก่ เมเซตา ในคาบสมุทรไอบีเรีย , มัสซีฟซองตรัล ในฝรั่งเศส บาวาเรียน หรือแบล็กฟอเรสต์/ป่าดำในเยอรมัน, โบฮีเมีย ในเชก เขรนี้เป็นย่ายอุตสาหกรรมสำคัญเนื่องจากเป็นแหล่งถ่ายหินสำคัญของทวีปโดยเฉพาะในแคว้นรูห์ , ซาร์ , แซกโซนี, และแหล่งถ่ายหินในฝรั่งเศส และเบลเยี่ยม
4. เขตภูเขาหินใหม่ภาคใต้ ได้แก่เทือกเขา พีเรนีส , แอลป์, แอปเพนไนน์, ไดนาริกแอลป์ , คอเคซัส , คาร์เปเธียน, เขตภูเขาหินใหม่นี้เป็นเขตที่เปลือกโลกยังไม่สงบตัวดีจึงยังมีแผ่นดินไหว และภูเขาไฟระเบิดเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว เช่น ภูเขาไฟวิสุเวียส เอทนา สตรอมโบลี ในประเทศอิตาลี
ลักษณะภูมิอากาศ ต่างกัน 7 เขตดังนี้
1. เขตภูมิอากาศแบบทุนดรา (แบบขั้วโลก) ลักษณะอากาศ หนาวจัดมากในฤดูหนาวเป็นระยะเวลานาน ฤดูร้อนสั้นมาก เพียง 1-2 เดือน อุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปีไม่เกิน 10 องศาเซลเซียส มีหิมะและน้ำแข็งปกคลุมเกือบทั้งปี ได้แก่บริเวณชายฝั่งภาคเหนือของคาบสมุทรสแกนดิเนียเวีย และชายฝั่งมหาสมุทรอาร์กติกของรัสเซีย พืชพรรณธรรมชาติในเขตนี้ได้แก่ มอส สาหร่าย และตะไคร่น้ำ ไม่มีไม้ยืนต้น ในฤดูร้อนบางพื้นที่ มีไม้ดอกเล็ก ๆ เช่น ดอกอาร์กติกวิลโลว์ อาร์กติกปอปปี
2. เขตภูมิอากาศแบบไทกา (แบบกึ่งขั้วโลก) ลักษณะอากาศ หนาวเย็นฤดูหนาวอุณหภูมิเฉลี่ย 6 องศาเซลเซียส ฤดูร้อนอากาศอบอุ่นชื้นเล็กน้อย อุณหภูมิเฉลี่ย 17 องศาเซลเซียส ได้แก่บริเวณนอร์เวย์ สวีเดิน ฟินแลนด์ และรัสเซีย พืชพรรณธรรมชาติ ส่วนใหญ่เป็นไม้สน (ไทกา)
3. เขตภูมิอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก ลักษณะอากาศ อบอุ่นชื้นตลอดปี ฤดูหนาวไม่หนาวจัด ฤดูร้อนอบอุ่น มีฝนตกชุกตลอดปี ได้แก่บริเวณชายฝั่งตะวันตกและตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรป พืชพรรณธรรมชาติ เป็นป่าไม้ผลัดใบผสมกับป่าสน
4. เขตภูมิอากาศอบอุ่นชั้นภาคพื้นทวีป ลักษณะอากาศ ค่อนข้างหนาวเย็น ฤดูหนาวอุณภูมิเฉลี่ย 1-2 องศาเซลเซียส ฤดูร้อนอุณหภูมิเฉลี่ย 19-20 องศาเซลเซียส ได้แก่บริเวณยุโรปตะวันตก และตอนใต้ของรัสเซีย พืชพรรณธรรมชาติ เป็นป่าสนผสมกับป่าไม้ผลัดใบ
5. เขตภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น ลักษณะอากาศ อบอุ่น ฤดูร้อนร้อนจัด มีฝนตกชุกตลอดปี ได้แก่บริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป ตอนเหนือ และตอนกลางของคาบสมุทรบอลข่านพืชพรรณธรรมชาติ เป็นป่าไม้ผลัดใบ และป่าผสม
6. เขตภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน ลักษณะอากาศ ฤดูหนาวอบอุ่น ร้อนจัดในฤดูร้อน มีฝนตกชุกในฤดูหนาว ได้แก่บริเวณชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ในคาบสมุทรไอบีเรีย ภาคใต้ ของฝรั่งเศส อิตาลี และคาบสมุทรบอลข่าน พืชพรรณธรรมชาติ ได้แก่ไม้คอร์ก โอ๊ก และไม้พุ่มมีหนาม (ไม้พุ่มแคระที่เรียกว่ามากีส์) สำหรับพืชผลเป็นพืชตระกูล ส้ม องุ่น มะกอก
7. เขตภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทรายแถบอบอุ่น ลักษณะอากาศมีอากาศค่อนข้างแห้งแล้ง มีฝนตกน้อยเฉลี่ยไม่เกิน 20 นิ้วต่อปี แต่ไม่แห้งแล้งเหมือนทะเลทราย ได้แก่บริเวณภาคใต้ของรัสเซีย ตอนกลาง ของคาบสมุทรไอบีเรีย ตอนเหนือของทะเลแคสเปียน และทะเลดำ พืชพรรณธรรมชาติ เป็นทุ่งหญ้าที่ขึ้นเบาบาง เป็นหญ้าสั้น ๆ เรียกว่า สเตปป์ และมีพุ่มไม้เตี้ยสลับกันห่าง ๆ 
อาชีพที่สำคัญของชาวยุโรป
1. เพาะปลูก พืชที่สำคัญของทวีปยุโรป ได้แก่
- ข้าวสาลี  ประเทศที่ปลูกมากที่สุด คือ ยูเครน รองลงไปคือฝรั่งเศส อิตาลี สเปน โรมาเนีย บัลแกเรีย เยอรมณี และฮังการี
- ข้าวโอ๊ต ข้าวบาร์เลย์ ข่างไรย์ ถั่ว และมันฝรั่ง ซึ่งมีปลูกโดยทั่วไป
- องุ่น ส้ม มะกอก มะนาว แอปเปิล และผลไม้ชนิดต่าง ๆ ปลูกมากในเขตอากาศเมดิเตอร์เรเนียน แถบประเทศ โปรตุเกส สเปน ฝรั่งเศส อิตาลี และกรีซ
- ป่านลินิน ปลูกมากในเขตประเทศโปแลนด์ เบลเยี่ยม และไอร์แลนด์
2. การเลี้ยงสัตว์ ทำเป็นฟาร์มขนาดใหญ่ควบคู่ไปกับการเพาะปลูกในลักษณะเกษตรแบบผสม การเลี้ยงสัตว์จะแตกต่างกนไปตามลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ดังนี้
- แบบทุนดรา จะเลี้ยงกวางเรนเดียร์ พบในประเทศฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ และนอร์เวย์ นอกจากนี้ยังมีการล่าสัตว์จำพวก แมวน้ำ หมี มิ้งค์ สุนัขจิ้งจอก บีเวอร์ เพื่อเป็นการยังชีพอีกด้วย
- เขตทุ่งหญ้าสเตปป์ มีการเลี้ยงโคเนื้อ แพะ แกะ และม้า แถบบริเวณชายฝั่งทะเล แคสเปียน ในภาคใต้ของยูเครนและรัสเซีย
- เขตเมดิเตอร์เรเนียน มีการเลี้ยงโคเนื้อและแกะ 
- เขตอบอุ่นชื้อตอนเหนือของคาบสมุทรบอลข่าน มีการเลี้ยงสุกรโดยใช้ข้าวโพดเป็นอาหาร
- เขตภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก มีการทำฟาร์มโคนม ประเทศที่เลี้ยงมากที่สุด คือ เดนมาร์ก รองลงมาคือ รัสเซีย
3. อาชีพการทำป่าไม้ ทำกันมาในยุโรปเหนือ เช่นฟินแลนด์ นอร์เวย์ สวีเดน โดยเน้นหนักเพื่อการค้า
4. อาชีพประมง แหล่งที่มีปลาชุมของทวีปยุโรป อยู่บริเวณทะเลเหนือ เรียกว่า ดอกเกอร์แบงก์ ปลาที่จับกันมากคือปลาคอด เฮอริง แมคเคอเรล แฮดดอก แฮลิบัท ซาร์ดีน นอกจากดอกเกอร์แบงก์แล้ว ในอ่าวบิสเคย์ ทะเลแคสเปียน ทะเลดำ และลุ่มน้ำโวลกาก็เป็นแหล่งประมงเช่นกัน โดยเฉพาะปลาสเตอร์เจียนที่เอาไข่มาทำคาร์เวีย
5. อาชีพการทำเหมืองแร่ แร่เศรษฐกิจที่สำคัญของทวีปยุโรป คือ ถ่านหิน และเหล็ก
6. อาชีพอุตสาหกรรม ที่สำคัญได้แก่ การถลุงเหล็ก และผลิตเหล็กกล้า เครื่องจักรกล ยานพาหนะ เสื้อผ้า เครื่องหนัก เครื่องแก้ว และอุตสหกรรมการท่องเที่ยว
7. อาชีพค้าขาย สินค้าเข้าได้แก่ วัตถุดิบสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมและน้ำมันเชื้อเพลิง สินค้าออก ส่วนใหญ่เป็นสินค้าสำเร็จรูปที่เป้นผลผลิตจากโรงงานอุตสาหกรรม
8. การคมนาคม ทวีปยุโรปเป็นทวีปที่มีการคมนาคมเจริญก้าวหน้ามากมีเส้นทางคมนาคมแน่นที่สุดในโลก โดยเฉพาะทางรถไฟมีความสำคัญมาก และมีประสิทธิภาพสูง เช่น รถไฟของฝรั่งเศสวิ่งได้เร็วที่สุดในโลกคือวิ่งได้เร็วถึง 274 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ลักษณะทางสังคมวัฒนธรรมของทวีปยุโรป
ลักษณะทางสังคม  
1. เป็นสังคมที่มีความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาการต่าง ๆ มาก
2. เป็นสังคมเมืองมากกว่าชนบท มีลักษณะเป็นครอบครัวเดี่ยว
3. มีความผูกพันกับเครือญาติไม่มากนัก ไม่แน่นแฟ้นเหมือนสังคมไทย
4. เป็นสังคมที่มีระเบียบวินัยเคร่งครัด รักประชาธิปไตย  รักความเป็นอิสระ รักเสรีภาพ ขยันขันแข็ง ในการทำงาน เน้นการช่วยเหลือตนเองให้มากที่สุด มีความเป็นตัวของตัวเอง
ลักษณะทางวัฒนธรรม
เป็นวัฒนธรรมของชาวคริสต์ แบบประชาธิปไตย เพราะประชากรส่วนใหญ่ นับถือศาสนาคริสต์ รักอิสระเสรี รักการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ลักษณะประชากร
1. เชื้อชาติ ส่วนใหญ่เป็นชาวผิวขาว เชื้อชาติคอเคซอยด์ แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มตามลักษณะทางร่างกาย ดังนี้
    1.1 กลุ่มนอร์ดิก อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปโดยเฉพาะในคาบสมุทรสแกนดิเนเวียมีรูปร่างสูงใหญ่ ผิวเกลี้ยง ตาสีฟ้า ผมสีทอง กะโหลกศีรษะค่อนข้างยาว
    1.2 กลุ่มเมดิเตอร์เรเนียน อยู่ทางภาคใต้ของทวีป เช่น ในประเทศ สเปน โปรตุเกส และกรีซ มีรูปร่างเล็ก ผมสีดำ ตาสีฟ้า กะโหลกศีรษะกลม ผิวคล้ำและเกลี้ยง
    1.3 กลุ่มอัลไพน์ อาศัยอยู่แถบเทือกเขาแอลป์ มีรูปร่างค่อนข้างล่ำสันและเตี้ย ผมและตาสีน้ำตาล กะโหลกศีรษะค่อนข้างกลม
    1.4 กลุ่มแลปป์และบัลติกตะวันออก อยู่ในนอร์เวย์ สวีเดน ฟินแลนด์ รัสเซีย มีรูปร่างเล็ก ตาสีฟ้า ผมดำ จมูกค่อนข้างแบนกะโหลกศรีษะค่อนข้างกลม ชาวแลปป์มิใช่ชาวยุโรปแท้ แต่เป็นมนุษย์ในสาขามองโกลอยด์
ภาษา 
ที่ใช้ในทวีปยุโรป เป็นตระกูล ภาษาอินโด-ยุโรเปียน ซึ่งแบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ
1. กลุ่มภาษาเยอร์มานิก (ติวโตนิก) ใช้กันในกลุ่มสแกนดิเนเวีย เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ออสเตรีย ไอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร และบางส่วนของสวิตเซอร์แลนด์ เบลเยี่ยม
2. กลุ่มภาษาโรแมนซ์ หรือกลุ่มภาษาละติน ใช้กันใน อิตาลี สเปน ฝรั่งเศส โปรตุเกส และโรมาเนีย
3. กลุ่มภาษาสลาวิก (สลาฟ) ใช้กันในภาคกลางและภาคตะวันออกของยุโรป ในคาบสมุทรบอลข่าน และสหพันธรัฐรัสเซีย
ศาสนา
ชาวยุโรปส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 นิกาย คือ 
1. โรมันคาทอลิก เป็นศาสนาของผู้ใช้ภาษาละติน เช่นในเบลเยี่ยม ฝรั่งเศส โปรตุเกส อิตาลี ออสเตรีย สโลวัก เช็ก และโปแลนด์
2. กรีกออร์โธดอกซ์ นับถือศาสนาในกรีซ และยูโกสลาเวีย
3. โปรเตสแตนด์ นับถือกันใน สแกนดิเนเวีย เอสโทเนีย แลตเวีย เนเธอร์แลนด์สหราชอาณาจักร


ลักษณะการเมืองการปกครองของทวีปยุโรป
ระบอบการปกครองของทวีปยุโรป จะเห็นได้เด่นชัดอยู่ 2 ระบอบคือ
1. ระบอบประชาธิปไตย ใช้กันทางแถบยุโรปเหนือ ยุโรปใต้ ยุโรปกลาง แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ
    1.1 แบบมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ได้แก่ สหราชอาณาจักร สเปน สวีเดน นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม เดนมาร์ก
    1.2 แบบที่มีประธานาธิบดีเป็นประมุข ไ
ทวีปยุโรป ทิศเหนือติดต่อกับ มหาสมุทรอาร์กติก ดินแดนเหนือสุด เกาะโนวายา เซมลิยา ทิศใต้ติดต่อกับ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตะวันออก ติดกับทวีปเอเชีย มีเทือกเขาอูราล ทะเลแคสเปียน แม่น้ำโวลกากั้นระหว่างทวีปยุโรปและทวีปเอเชีย
ลักษณะภูมิอากาศ
เขตอากาศของทวีปยุโรป สามารถแบ่งเป็น 7 เขตดังนี้
1. เขตภูมิอากาศแบบทุนดรา หรืออากาศแบบขั้วโลก เป็นเขตอากาศที่หนาวเย็นจัดตลอดทั้งปี ส่วนฤดูร้อนสั้นประมาณ 1-2 เดือน อุณหภูมิเฉลี่ยของเขตนี้ เฉลี่ยทั้งปีไม่เกิน 10 องศาเซลเซียส พืชพรรณธรรมชาติได้แก่ มอสส์ ตะไคร่น้ำ เขตอากาศทุนดราของทวีปยุโรป ได้แก่ บริเวณคาบสมุทรสแกนดิเนเวียและบริเวณทางเหนือสุดของประเทศรัสเซีย
2. เขตอากาศแบบกึ่งขั้วโลกหรือไทกา ลักษณะอากาศในเขตนี้ คือ เป็นเขตที่มีอากาศหนาวจัดในช่วงฤดูหนาว อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 6 องศาเซลเซียส ฤดูร้อนมีระยะเวลายาวกว่าเขตภูมิอากาศแบบทุนดรา ปริมาณน้ำฝนทั้งปีอยู่ระหว่าง 500-1,000 มิลลิเมตร พืชพรรณธรรมชาติ คือ ป่าสนหรือป่าไทกา บริเวณลักษณะอากาศแบบนี้ คือ นอร์เวย์ สวีเดน และฟินแลนด์
3. เขตอากาศอบอุ่นชื้นภาคพื้นทวีป ลักษณะอากาศของเขตนี้ คือ ฤดูหนาวมีอากาศหนาวเย็น เพราะอยู่ลึกเข้าไปในใจกลางทวีป จึงไม่ค่อยได้รับอิทธิพลจากมหาสมุทร พืชพรรณธรรมชาติได้แก่ ป่าไม้ผลัดใบและไม่ผลัดใบผสมกัน ส่วนบริเวณที่มีฝนตกน้อย พืชพรรณธรรมชาติจะเป็นทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น บริเวณลักษณะอากาศแบบนี้ คือ ดินแดนของประเทศโปแลนด์ สาธารณรัฐเช็ก สโลวาเกีย เอสโตเนีย และลัตเวีย
4. เขตภูมิอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก ลักษณะของอากาศในเขตนี้ คือ ฤดูร้อนอากาศเย็นสบาย ฤดูหนาวอากาศไม่หนาวจัด เพราะเขตนี้มีที่ตั้งอยู่ใกล้มหาสมุทร จึงได้รับอิทธิพลจากมหาสมุทรแอตแลนติก ทำให้เขตนี้มีอากาศอบอุ่น ชุ่มชื้น ฝนตกสม่ำเสมอตลอดทั้งปี ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยของทั้งปีอยู่ที่ 750-1,500 มิลลิเมตร พืชพรรณธรรมชาติเป็นป่าไม้เขตอบอุ่นชนิดป่าไม้ผลัดใบผสมกับป่าสน บริเวณลักษณะอากาศแบบนี้ ครอบคลุมบริเวณของประเทศฝรั่งเศส เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก เยอรมนี สหราชอาณาจักร และทางตอนใต้ของนอร์เวย์และสวีเดน
5. เขตภูมิอากาศอบอุ่นชื้น ลักษณะอากาศของเขตนี้ คือ อากาศอบอุ่น ฤดูร้อนอากาศร้อน มีฝนตกชุกตลอดทั้งปี ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปีประมาณ 500-1,000 มิลลิเมตร พืชพรรณธรรมชาติ ได้แก่ ป่าไม้เขตอบอุ่นหรือทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น บริเวณลักษณะอากาศแบบนี้ ได้แก่ บริเวณคาบสมุทรบอลข่าน ออสเตรีย และฮังการี
6. เขตภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน ลักษณะอากาศในเขตนี้ คือ เป็นเขตที่มีแสงแดดตลอดทั้งปี ฤดูร้อนอากาศร้อนและแห้งแล้ง ฤดูหนาวจะมีฝนตก ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยประมาณ 500-1,000 มิลลิเมตรต่อปี พืชพรรรณธรรมชาติเป็นเขตอบอุ่น เรียกว่า ป่าไม้เมดิเตอร์เรเนียน เช่น คอร์กโอ๊ก ส้ม มะนาว องุ่น มีป่าไม้มีหนามแหลม เรียกว่า ป่ามากี (maquis) บริเวณที่มีลักษณะอากาศแบบนี้ คือ บริเวณที่มีอาณาเขตติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ได้แก่ ภาคใต้ของประเทศฝรั่งเศส อิตาลี สเปน โปรตุเกส เซอร์เบีย และกรีซ
7. เขตภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย ลักษณะสำคัญของอากาศในเขตนี้ คือ เป็นเขตที่มีปริมาณฝนน้อย ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปีต่ำกว่า 500 มิลลิเมตร พืชพรรณธรรมชาติเป็นทุ่งหญ้าขึ้นเบาบาง


อาชีพและทรัพยากร
1. การเพาะปลูก เขตเพาะปลูกอยู่ในยุโรปตะวันตก ภาคตะวันออกและภาคใต้ของอังกฤษ ภาคเหนือและภาคตะวันตกของฝรั่งเศส ตอนเหนือของเยอรมนี ยูเครน พืชที่สำคัญคือ
1. ข้าวสาลี ปลูกได้มากที่สุดคือ ยูเครน รองลงไปคือ ฝรั่งเศส อิตาลี สเปน โรมาเนีย บัลแกเรีย เยอรมนี ฮังการี
2. ข้าวโอ๊ต ข้าวบาร์เลย์ ข้าวไรย์ ถั่ว มันฝรั่ง ปลูกได้โดยทั่วไป
3. องุ่น ส้ม มะกอก มะนาว แอปเปิลและผลไม้ชนิดต่างๆ ปลูกได้มากเขตอากาศแบบเมดิเตอร์เนียน ได้แก่ประเทศอิตาลี ฝรั่งเศส สเปน กรีซ
4. ต้นแฟล็กซ์ ใช้ใบทำป่านลินิน ปลูกมากในโปแลนด์ เบลเยียม ไอร์แลนด์
2. การเลี้ยงสัตว์ เลี้ยงไปตามลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ
1. เขตทุนดรา มีการเลี้ยงกวางเรนเดียร์
2. เขตทุ่งหญ้าสเตปป์ มีการเลี้ยงโคเนื้อ แพะ แกะ ม้า
3. เขตเมดิเตอร์เรเนียน มีการเลี้ยงโคเนื้อ และแกะ
4. เขตภูเขาสูง และที่ราบสูง มีการเลี้ยงโคเนื้อ โคนม แกะ
5. เขตอบอุ่นชื้นตอนเหนือของคาบสมุทรบอลข่าน มีการเลี้ยงสุกรด้วยข้าวโพด
6. เขตภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก มีการทำฟาร์มโคนม
3. การทำป่าไม้ พบมากในประเทศฟินแลนด์ สวีเดน รัสเซีย นอร์เวย์ ในบริเวณป่าสน ซึ่งเป็นไม้เนื้ออ่อน นำมาผลิตเป็นเยื่อกระดาษ
4. การประมง แหล่งประมงที่สำคัญ ได้แก่
1. ทะเลเหนือ โดยเฉพาะบริเวณที่กระแสน้ำอุ่นแอตแลนติกเหนือบรรจบกับกระแสน้ำเย็นกรีนแลนด์ตะวันออก เกิดเป็นแหล่งที่มีปลาชุกชุมมากแห่งหนึ่งของโลกเรียกว่า ดอกเกอร์แบงก์ ประเทศที่จับปลาได้มาก สหราชาอาณาจักร ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์
2. บริเวณอ่าวบิสเคย์จนถึงทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยเฉพาะบริเวณทะเลดำ ทะเลสาบแคสเปียนและแม่น้ำโวลกา มีการจับปลาสเตอร์เจียน มาทำเป็นไข่ปลาคาร์วียร์
5. การทำเหมืองแร่ ยุโรปเป็นทวีปที่มีแร่เหล็กและถ่านหินอุดมสมบูรณ์
1. ถ่านหิน แหล่งสำคัญอยู่ทางภาคเหนือของสหราชอาณาจักร ภาคกลางของเบลเยียม ลุ่มแม่น้ำรูห์ของเยอรมนี ภาคใต้ของโปแลนด์ ภาคเหนือของเช็ก สโลวัก ยูเครน ไซบีเรียของรัสเซีย
2. เหล็ก แหล่งสำคัญคือ
1. แหล่งคิรูนาและเยลีวาร์ทางตอนเหนือของสวีเดน
2. แหล่งคริวอยร็อกในยูเครน
3. แหล่งลอเรนซ์ทางตะวันออกเฉียงใต้ของฝรั่งเศส
3. น้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ แหล่งสำคัญของยุโรปอยู่ในบริเวณทะเลเหนือ และรอบๆทะเลสาบแคสเปียน
4. บอกไซต์ เมื่อนำถลุงแล้วได้อะลูมิเนียม แหล่งผลิตสำคัญอยู่ทางภาคใต้ของฝรั่งเศส ยูโกสลาเวีย ฮังการี เทือกเขาอูราลในรัสเซีย
5. โพแทช ใช้ในอุตสาหกรรมปุ๋ยและสบู่ แหล่งผลิตอยู่ในประเทศฝรั่งเศส เยอรมนี สเปน รัสเซีย
6. อุตสาหกรรม ยุโรปได้ชื่อว่าเป็นทวีปอุตสาหกรรม เพราะเกือบทุกประเทศประชากร ผู้ใช้แรงงานส่วนใหญ่อยู่ในภาคอุตสาหกรรม แหล่งอุตสาหกรรมส่วนใหญ่อยู่ในยุโรปตะวันตก เช่น สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี เนเธอร์แลนด์ ส่วนยุโรปตะวันออกอยู่ใน รัสเซีย ยูเครน เบลารุส
7. การค้าขาย เนื่องจากยุโรปความเจริญก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ทำให้ยุโรปมีการติดต่อค้าขายกับภูมิภาคอื่นและมีการตั้งกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น
1. สหภาพยุโรป (EU-European Union)
2. สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป (EFTA-European Free Trade Association) ตลาดการค้าขายระหว่างประเทศ ได้แก่ ประเทศต่างๆที่อยู่ในยุโรปและประเทศอเมริกาเหนือ
8. การคมนาคมขนส่ง ยุโรปเป็นทวีปที่มีการคมนาคมขนส่งเจริญก้าวหน้ามาก
1. ทางรถยนต์ มีทางหลวงเชื่อมระหว่างเมือง เขตอุตสาหกรรมและประเทศต่างๆ มีระยะทางยาวประมาณ 1 ใน 5 ของทางรถยนต์ของโลก
2. ทางรถไฟ ทวีปยุโรปมีทางรถไฟยาว 1 ใน 3 ของทางรถไฟในโลก ประเทศที่มีทางรถไฟยาวเมื่อเฉลี่ยต่อเนื้อที่แล้วมากที่สุด คือ เบลเยียม รองลงมาคือ สหราชอาณาจักร สวิตเซอร์แลนด์ เมืองที่เป็นศูนย์กลางการคมนาคมทางรถไฟคือ ปารีส ลอนดอน เบอร์ลิน วอร์ซอ มอสโก
3. ทางอากาศ แต่ละประเทศต่างก็มีสายการบินเป็นของตนเอง ใช้ติดต่อระหว่างเมืองภายในประเทศ ระหว่างประเทศ และระหว่างทวีป ศูนย์กลางการบินส่วนใหญ่เป็นเมืองหลวงของแต่ละประเทศ
4. ทางน้ำ แม่น้ำสำคัญที่ใช้ในการคมนาคมขนส่งภายในประเทศและระหว่างประเทศ ได้แก่ แม่น้ำไรน์ แม่น้ำเซน แม่น้ำดานูบ แม่น้ำโวลกา แม่น้ำโอเดอร์ และมีการขุดคลองเพื่อการคมนาคม เช่น คลองคีล ในเยอรมนี เชื่อมระหว่างทะเลบอลติกกับทะเลเหนือ คลองมีดีในฝรั่งเศสเชื่อมทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับมหาสมุทรแอตแลนติก
เศรษฐกิจ
ดูเพิ่มที่ รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปเรียงตามค่าจีดีพี, รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปเรียงตามจีดีพีต่อหัว และ วิกฤตการเงินกรีซใน ค.ศ. 2010
ทวีปยุโรปมีความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจรุ่งเรืองมาก โดยมีการรวมกลุ่มเป็นประชาคมเศรษฐกิจที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เรียกว่า กลุ่มสหภาพยุโรป ซึ่งมีบทบาทมากต่อเศรษฐกิจโลก นอกจากนี้ สมาชิกจี 8จำนวน 8 ประเทศ มีสมาชิกอยู่ในทวีปยุโรปมากถึง 5 ประเทศ คือ รัสเซีย เยอรมนี ฝรั่งเศส อิตาลี และสหราชอาณาจักร
หลังเกิดวิกฤตการเงินโลก 2010 ที่กรีซ ทำให้ตลาดหุ้นทั่วโลกดิ่งลงเหวอย่างหนัก ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า กลุ่มสหภาพยุโรปเริ่มขาดสภาพคล่องทางการเงินจากปัญหาหนี้สินเพิ่มมากขึ้น
2 ข้อมูลจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ
ด้แก่ ฝรั่งเศส เยอรมนี ไอซ์แลนด์ กรีซ อิตาลี โปรตุเกส ออสเตรีย สวิตเซอร์แลนด์ เป็นต้น
2. ระบบคอมมิวนิสต์ ใช้กันในกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก เช่น รัสเซีย
บทบาทของทวีปยุโรปและความสัมพันธ์กับประเทศไทย
1. ด้านการค้าขาย มีการซื้อขายสินค้าซึ่งกันและกันตลอดมา
2. ความสัมพันธ์ด้านการทูต ซึ่งเคยมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา เช่น ประเทศ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี
3. ความสันพันธ์ด้านการให้ความช่วยเหลือ ประเทศไทยได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาลสวีเดนและนอร์เวย์
4. ความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันพระมหากษัตริย์ เช่น สหราชอาณาจักร สเปน สวีเดน นอร์เวย์ เดนมาร์ก เบลเยี่ยม เนเธอร์แลนด์ ด้านอื่น ๆ เช่น กีฬา การศึกษา การส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนการท่องเที่ยว



ทวีปยุโรป
    ทวีปยุโรป เป็นทวีปที่อยู่บนผืนแผ่นดินเดียวกับทวีปเอเชีย มีลักษณะคล้ายกับเป็นคาบสมุทรใหญ่ของทวีปเอเชียว จึงมีผู้เรียกทวีปยุโรป และเอเชียรวมกันว่า “ยูเรเซีย” พรมแดนธรรมชาติที่ใช้เป็นแนวแบ่งทวีปยุโรปกับทวีเอเชียออกจากกัน คือ แนว เทือกเขาอูราลและแม่น้ำอูราล
    ที่ตั้ง ทวีปยุโรปตั้งอยู่ระหว่างละติจูดประมาณ 36 องศาเหนือ ถึง 71 องศาเหนือ และลองจิจูดประมาณ 9 องศาตะวันตก ถึง ลองจิจูดประมาณ 66 องศาตะวันออก กล่าวคือ ทวีปยุโรป มีพื้นที่ทั้งหมดอยู่เหนือเส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์ (ละติจูดที่ 23 ½ องศาเหนือ) ซึ่งอยู่ในเขตอากาศอบอุ่นเหนือเกือบทั้งหมดยกเว้นตอนเหนือสุดของทวีปเท่านั้นที่อยู่ในเขตอากาศหนาวเหนือ
    ขนาด ทวีปยุโรป มีพื้นที่ประมาณ 10 ล้านตารางกิโลเมตร มีขนาดใหญ่เป็นลำดับที่ 6 ของโลก รองจากทวีปเอเชีย แอฟริกา อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ แอนตาร์กติกา แต่ใหญ่กว่าออสเตรเลีย
อาณาเขตติดต่อ มีดังนี้
ทิศเหนือ    ติดต่อกับมหาสมุทรอาร์กติก และมีทะลต่าง ๆ ได้แก่ ทะเลขาว ทะเลแบเรนต์ส น่านน้ำเหล่านี้มีความสำคัญทางเศรษฐกิจน้อยมาก เพราะในฤดูหนาวจะปกคลุมไปด้วยน้ำแข็ง ใช้เดินเรือไม่ได้ คาบสมุทรสำคัญด้านนี้ ได้แก่ คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย คาบสมุทรจัตแลนด์
ทิศตะวันออก    ติดต่อเป็นผืนแผ่นดนเดียวกันกับทวีปเอเชีย โดยมีเทือกเขาอูราลแม่น้ำอูราล และทะเลสาบแคสเปียนเป็นแนวพรมแดน
ทิศตะวันตก    ติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก มีทะเลต่าง ๆ ได้แก่ ทะเลนอร์วิเจียน ทะเลเหนือ ทะเลไอริช และทะเลบอลติก เกาะสำคัญทางด้านนี้ ได้แก่ เกาะบริเตนใหญ่ เกาะไอร์แลนด์ และเกาะไอซ์แลนด์
    ทวีปยุโรปเป็นทวีปที่มีชายฝั่งทะเลที่ยาวที่สุดในโลก ทั้งนี้เพราะความเว้าแหว่งของชายฝั่งทะเลมีมากนั่นเอง และยังทำให้มีคาบสมุทรหลายแห่ง ได้แก่ คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศนอร์เวย์และสวีเดิน คาบสมุทรจัดแลนด์เป็นที่ตั้งของประเทศเดนมาร์ก คาบสมุทรไอบีเรียเป็นที่ตั้งของประเทศสเปนและโปรตุเกส คาบสมุทรอิตาลี เป็นที่ตั้งของประเทศอิตาลี คาบสมุทรบอลข่าน เป็นที่ตั้งของประเทศอดีตยูโกสลาเวีย แอลเบเนีย โรมาเนีย บัลแกเรีย แอลกรีซ (สาธารณรัฐเฮเลนิก) คาบสมุทรไครเมียในประเทศยูเครน
    ลักษณะภูมิประเทศ แบ่งออกเป็น 4 เขต ดังนี้
1. เขตหินเก่าภาคตะวันตกเฉียงเหนือ เขตนี้มีเทือกเขาที่มีอายุเก่าแก่ เช่น เชอเลน ในคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย , แกรมเบียน ในสกอตแลนด์ และมีชายฝั่งที่เว้าแหว่งมากเป็นอ่าวแคบ ๆ มีน้ำลึก สองฝั่งเป็นหน้าผาสูงชัน เรียกว่า ฟยอร์ด ซึ่งเกิดจากธารน้ำแข็งกัดเซาะ ได้แก่บริเวณชายฝั่งตะวันตกของประเทศนอร์เวย์ และแคว้นสกอตแลนด์ ของสหรราชอาณาจักร
2. เขตที่ราบใหญ่ภาคกลาง (ที่ราบใหญ่ยุโรป) เป็นเขตที่มีความสำคัญทางด้านเกษตรกรรมมาก มีประชากรหนาแน่น ทั้งนี้เพราะ การคมนาคมขนส่งสะดวกมีแม่น้ำไหลผ่านหลายสาย ได้แก่ไรน์ (แม่น้ำถ่านหิน/แม่น้ำนานาชาติ) เอลเบลัว เซน เป็นต้น บริเวณชายฝั่งทะเลบอลติทางตอนใต้ของประเทศนอร์เวย์ สวีเดน ผินแลนด์ เป็นหินเปลือกโลกที่มีอายุเก่าแก่ที่สุด เรียกว่า บอลติกชีลด์
3. เขตที่ราบสูงภาคกลาง อยู่ระหว่างเขตที่ราบใหญ่ภาคกลางกับเขตเทือกเขาสูงภาคใต้ ของทวีป ที่ราบสูงสำคัญได้แก่ เมเซตา ในคาบสมุทรไอบีเรีย , มัสซีฟซองตรัล ในฝรั่งเศส บาวาเรียน หรือแบล็กฟอเรสต์/ป่าดำในเยอรมัน, โบฮีเมีย ในเชก เขรนี้เป็นย่ายอุตสาหกรรมสำคัญเนื่องจากเป็นแหล่งถ่ายหินสำคัญของทวีปโดยเฉพาะในแคว้นรูห์ , ซาร์ , แซกโซนี, และแหล่งถ่ายหินในฝรั่งเศส และเบลเยี่ยม
4. เขตภูเขาหินใหม่ภาคใต้ ได้แก่เทือกเขา พีเรนีส , แอลป์, แอปเพนไนน์, ไดนาริกแอลป์ , คอเคซัส , คาร์เปเธียน, เขตภูเขาหินใหม่นี้เป็นเขตที่เปลือกโลกยังไม่สงบตัวดีจึงยังมีแผ่นดินไหว และภูเขาไฟระเบิดเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว เช่น ภูเขาไฟวิสุเวียส เอทนา สตรอมโบลี ในประเทศอิตาลี
ลักษณะภูมิอากาศ ต่างกัน 7 เขตดังนี้
1. เขตภูมิอากาศแบบทุนดรา (แบบขั้วโลก) ลักษณะอากาศ หนาวจัดมากในฤดูหนาวเป็นระยะเวลานาน ฤดูร้อนสั้นมาก เพียง 1-2 เดือน อุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปีไม่เกิน 10 องศาเซลเซียส มีหิมะและน้ำแข็งปกคลุมเกือบทั้งปี ได้แก่บริเวณชายฝั่งภาคเหนือของคาบสมุทรสแกนดิเนียเวีย และชายฝั่งมหาสมุทรอาร์กติกของรัสเซีย พืชพรรณธรรมชาติในเขตนี้ได้แก่ มอส สาหร่าย และตะไคร่น้ำ ไม่มีไม้ยืนต้น ในฤดูร้อนบางพื้นที่ มีไม้ดอกเล็ก ๆ เช่น ดอกอาร์กติกวิลโลว์ อาร์กติกปอปปี
2. เขตภูมิอากาศแบบไทกา (แบบกึ่งขั้วโลก) ลักษณะอากาศ หนาวเย็นฤดูหนาวอุณหภูมิเฉลี่ย 6 องศาเซลเซียส ฤดูร้อนอากาศอบอุ่นชื้นเล็กน้อย อุณหภูมิเฉลี่ย 17 องศาเซลเซียส ได้แก่บริเวณนอร์เวย์ สวีเดิน ฟินแลนด์ และรัสเซีย พืชพรรณธรรมชาติ ส่วนใหญ่เป็นไม้สน (ไทกา)
3. เขตภูมิอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก ลักษณะอากาศ อบอุ่นชื้นตลอดปี ฤดูหนาวไม่หนาวจัด ฤดูร้อนอบอุ่น มีฝนตกชุกตลอดปี ได้แก่บริเวณชายฝั่งตะวันตกและตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรป พืชพรรณธรรมชาติ เป็นป่าไม้ผลัดใบผสมกับป่าสน
4. เขตภูมิอากาศอบอุ่นชั้นภาคพื้นทวีป ลักษณะอากาศ ค่อนข้างหนาวเย็น ฤดูหนาวอุณภูมิเฉลี่ย 1-2 องศาเซลเซียส ฤดูร้อนอุณหภูมิเฉลี่ย 19-20 องศาเซลเซียส ได้แก่บริเวณยุโรปตะวันตก และตอนใต้ของรัสเซีย พืชพรรณธรรมชาติ เป็นป่าสนผสมกับป่าไม้ผลัดใบ
5. เขตภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น ลักษณะอากาศ อบอุ่น ฤดูร้อนร้อนจัด มีฝนตกชุกตลอดปี ได้แก่บริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป ตอนเหนือ และตอนกลางของคาบสมุทรบอลข่านพืชพรรณธรรมชาติ เป็นป่าไม้ผลัดใบ และป่าผสม
6. เขตภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน ลักษณะอากาศ ฤดูหนาวอบอุ่น ร้อนจัดในฤดูร้อน มีฝนตกชุกในฤดูหนาว ได้แก่บริเวณชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ในคาบสมุทรไอบีเรีย ภาคใต้ ของฝรั่งเศส อิตาลี และคาบสมุทรบอลข่าน พืชพรรณธรรมชาติ ได้แก่ไม้คอร์ก โอ๊ก และไม้พุ่มมีหนาม (ไม้พุ่มแคระที่เรียกว่ามากีส์) สำหรับพืชผลเป็นพืชตระกูล ส้ม องุ่น มะกอก
7. เขตภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทรายแถบอบอุ่น ลักษณะอากาศมีอากาศค่อนข้างแห้งแล้ง มีฝนตกน้อยเฉลี่ยไม่เกิน 20 นิ้วต่อปี แต่ไม่แห้งแล้งเหมือนทะเลทราย ได้แก่บริเวณภาคใต้ของรัสเซีย ตอนกลาง ของคาบสมุทรไอบีเรีย ตอนเหนือของทะเลแคสเปียน และทะเลดำ พืชพรรณธรรมชาติ เป็นทุ่งหญ้าที่ขึ้นเบาบาง เป็นหญ้าสั้น ๆ เรียกว่า สเตปป์ และมีพุ่มไม้เตี้ยสลับกันห่าง ๆ 
อาชีพที่สำคัญของชาวยุโรป
1. เพาะปลูก พืชที่สำคัญของทวีปยุโรป ได้แก่
- ข้าวสาลี  ประเทศที่ปลูกมากที่สุด คือ ยูเครน รองลงไปคือฝรั่งเศส อิตาลี สเปน โรมาเนีย บัลแกเรีย เยอรมณี และฮังการี
- ข้าวโอ๊ต ข้าวบาร์เลย์ ข่างไรย์ ถั่ว และมันฝรั่ง ซึ่งมีปลูกโดยทั่วไป
- องุ่น ส้ม มะกอก มะนาว แอปเปิล และผลไม้ชนิดต่าง ๆ ปลูกมากในเขตอากาศเมดิเตอร์เรเนียน แถบประเทศ โปรตุเกส สเปน ฝรั่งเศส อิตาลี และกรีซ
- ป่านลินิน ปลูกมากในเขตประเทศโปแลนด์ เบลเยี่ยม และไอร์แลนด์
2. การเลี้ยงสัตว์ ทำเป็นฟาร์มขนาดใหญ่ควบคู่ไปกับการเพาะปลูกในลักษณะเกษตรแบบผสม การเลี้ยงสัตว์จะแตกต่างกนไปตามลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ดังนี้
- แบบทุนดรา จะเลี้ยงกวางเรนเดียร์ พบในประเทศฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ และนอร์เวย์ นอกจากนี้ยังมีการล่าสัตว์จำพวก แมวน้ำ หมี มิ้งค์ สุนัขจิ้งจอก บีเวอร์ เพื่อเป็นการยังชีพอีกด้วย
- เขตทุ่งหญ้าสเตปป์ มีการเลี้ยงโคเนื้อ แพะ แกะ และม้า แถบบริเวณชายฝั่งทะเล แคสเปียน ในภาคใต้ของยูเครนและรัสเซีย
- เขตเมดิเตอร์เรเนียน มีการเลี้ยงโคเนื้อและแกะ 
- เขตอบอุ่นชื้อตอนเหนือของคาบสมุทรบอลข่าน มีการเลี้ยงสุกรโดยใช้ข้าวโพดเป็นอาหาร
- เขตภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก มีการทำฟาร์มโคนม ประเทศที่เลี้ยงมากที่สุด คือ เดนมาร์ก รองลงมาคือ รัสเซีย
3. อาชีพการทำป่าไม้ ทำกันมาในยุโรปเหนือ เช่นฟินแลนด์ นอร์เวย์ สวีเดน โดยเน้นหนักเพื่อการค้า
4. อาชีพประมง แหล่งที่มีปลาชุมของทวีปยุโรป อยู่บริเวณทะเลเหนือ เรียกว่า ดอกเกอร์แบงก์ ปลาที่จับกันมากคือปลาคอด เฮอริง แมคเคอเรล แฮดดอก แฮลิบัท ซาร์ดีน นอกจากดอกเกอร์แบงก์แล้ว ในอ่าวบิสเคย์ ทะเลแคสเปียน ทะเลดำ และลุ่มน้ำโวลกาก็เป็นแหล่งประมงเช่นกัน โดยเฉพาะปลาสเตอร์เจียนที่เอาไข่มาทำคาร์เวีย
5. อาชีพการทำเหมืองแร่ แร่เศรษฐกิจที่สำคัญของทวีปยุโรป คือ ถ่านหิน และเหล็ก
6. อาชีพอุตสาหกรรม ที่สำคัญได้แก่ การถลุงเหล็ก และผลิตเหล็กกล้า เครื่องจักรกล ยานพาหนะ เสื้อผ้า เครื่องหนัก เครื่องแก้ว และอุตสหกรรมการท่องเที่ยว
7. อาชีพค้าขาย สินค้าเข้าได้แก่ วัตถุดิบสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมและน้ำมันเชื้อเพลิง สินค้าออก ส่วนใหญ่เป็นสินค้าสำเร็จรูปที่เป้นผลผลิตจากโรงงานอุตสาหกรรม
8. การคมนาคม ทวีปยุโรปเป็นทวีปที่มีการคมนาคมเจริญก้าวหน้ามากมีเส้นทางคมนาคมแน่นที่สุดในโลก โดยเฉพาะทางรถไฟมีความสำคัญมาก และมีประสิทธิภาพสูง เช่น รถไฟของฝรั่งเศสวิ่งได้เร็วที่สุดในโลกคือวิ่งได้เร็วถึง 274 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ลักษณะทางสังคมวัฒนธรรมของทวีปยุโรป
ลักษณะทางสังคม  
1. เป็นสังคมที่มีความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาการต่าง ๆ มาก
2. เป็นสังคมเมืองมากกว่าชนบท มีลักษณะเป็นครอบครัวเดี่ยว
3. มีความผูกพันกับเครือญาติไม่มากนัก ไม่แน่นแฟ้นเหมือนสังคมไทย
4. เป็นสังคมที่มีระเบียบวินัยเคร่งครัด รักประชาธิปไตย  รักความเป็นอิสระ รักเสรีภาพ ขยันขันแข็ง ในการทำงาน เน้นการช่วยเหลือตนเองให้มากที่สุด มีความเป็นตัวของตัวเอง
ลักษณะทางวัฒนธรรม
เป็นวัฒนธรรมของชาวคริสต์ แบบประชาธิปไตย เพราะประชากรส่วนใหญ่ นับถือศาสนาคริสต์ รักอิสระเสรี รักการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ลักษณะประชากร
1. เชื้อชาติ ส่วนใหญ่เป็นชาวผิวขาว เชื้อชาติคอเคซอยด์ แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มตามลักษณะทางร่างกาย ดังนี้
    1.1 กลุ่มนอร์ดิก อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปโดยเฉพาะในคาบสมุทรสแกนดิเนเวียมีรูปร่างสูงใหญ่ ผิวเกลี้ยง ตาสีฟ้า ผมสีทอง กะโหลกศีรษะค่อนข้างยาว
    1.2 กลุ่มเมดิเตอร์เรเนียน อยู่ทางภาคใต้ของทวีป เช่น ในประเทศ สเปน โปรตุเกส และกรีซ มีรูปร่างเล็ก ผมสีดำ ตาสีฟ้า กะโหลกศีรษะกลม ผิวคล้ำและเกลี้ยง
    1.3 กลุ่มอัลไพน์ อาศัยอยู่แถบเทือกเขาแอลป์ มีรูปร่างค่อนข้างล่ำสันและเตี้ย ผมและตาสีน้ำตาล กะโหลกศีรษะค่อนข้างกลม
    1.4 กลุ่มแลปป์และบัลติกตะวันออก อยู่ในนอร์เวย์ สวีเดน ฟินแลนด์ รัสเซีย มีรูปร่างเล็ก ตาสีฟ้า ผมดำ จมูกค่อนข้างแบนกะโหลกศรีษะค่อนข้างกลม ชาวแลปป์มิใช่ชาวยุโรปแท้ แต่เป็นมนุษย์ในสาขามองโกลอยด์
ภาษา 
ที่ใช้ในทวีปยุโรป เป็นตระกูล ภาษาอินโด-ยุโรเปียน ซึ่งแบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ
1. กลุ่มภาษาเยอร์มานิก (ติวโตนิก) ใช้กันในกลุ่มสแกนดิเนเวีย เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ออสเตรีย ไอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร และบางส่วนของสวิตเซอร์แลนด์ เบลเยี่ยม
2. กลุ่มภาษาโรแมนซ์ หรือกลุ่มภาษาละติน ใช้กันใน อิตาลี สเปน ฝรั่งเศส โปรตุเกส และโรมาเนีย
3. กลุ่มภาษาสลาวิก (สลาฟ) ใช้กันในภาคกลางและภาคตะวันออกของยุโรป ในคาบสมุทรบอลข่าน และสหพันธรัฐรัสเซีย
ศาสนา
ชาวยุโรปส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 นิกาย คือ 
1. โรมันคาทอลิก เป็นศาสนาของผู้ใช้ภาษาละติน เช่นในเบลเยี่ยม ฝรั่งเศส โปรตุเกส อิตาลี ออสเตรีย สโลวัก เช็ก และโปแลนด์
2. กรีกออร์โธดอกซ์ นับถือศาสนาในกรีซ และยูโกสลาเวีย
3. โปรเตสแตนด์ นับถือกันใน สแกนดิเนเวีย เอสโทเนีย แลตเวีย เนเธอร์แลนด์สหราชอาณาจักร


ลักษณะการเมืองการปกครองของทวีปยุโรป
ระบอบการปกครองของทวีปยุโรป จะเห็นได้เด่นชัดอยู่ 2 ระบอบคือ
1. ระบอบประชาธิปไตย ใช้กันทางแถบยุโรปเหนือ ยุโรปใต้ ยุโรปกลาง แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ
    1.1 แบบมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ได้แก่ สหราชอาณาจักร สเปน สวีเดน นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม เดนมาร์ก
    1.2 แบบที่มีประธานาธิบดีเป็นประมุข ไ
ทวีปยุโรป ทิศเหนือติดต่อกับ มหาสมุทรอาร์กติก ดินแดนเหนือสุด เกาะโนวายา เซมลิยา ทิศใต้ติดต่อกับ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตะวันออก ติดกับทวีปเอเชีย มีเทือกเขาอูราล ทะเลแคสเปียน แม่น้ำโวลกากั้นระหว่างทวีปยุโรปและทวีปเอเชีย
 ลักษณะภูมิอากาศ
เขตอากาศของทวีปยุโรป สามารถแบ่งเป็น 7 เขตดังนี้
1. เขตภูมิอากาศแบบทุนดรา หรืออากาศแบบขั้วโลก เป็นเขตอากาศที่หนาวเย็นจัดตลอดทั้งปี ส่วนฤดูร้อนสั้นประมาณ 1-2 เดือน อุณหภูมิเฉลี่ยของเขตนี้ เฉลี่ยทั้งปีไม่เกิน 10 องศาเซลเซียส พืชพรรณธรรมชาติได้แก่ มอสส์ ตะไคร่น้ำ เขตอากาศทุนดราของทวีปยุโรป ได้แก่ บริเวณคาบสมุทรสแกนดิเนเวียและบริเวณทางเหนือสุดของประเทศรัสเซีย
2. เขตอากาศแบบกึ่งขั้วโลกหรือไทกา ลักษณะอากาศในเขตนี้ คือ เป็นเขตที่มีอากาศหนาวจัดในช่วงฤดูหนาว อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 6 องศาเซลเซียส ฤดูร้อนมีระยะเวลายาวกว่าเขตภูมิอากาศแบบทุนดรา ปริมาณน้ำฝนทั้งปีอยู่ระหว่าง 500-1,000 มิลลิเมตร พืชพรรณธรรมชาติ คือ ป่าสนหรือป่าไทกา บริเวณลักษณะอากาศแบบนี้ คือ นอร์เวย์ สวีเดน และฟินแลนด์
3. เขตอากาศอบอุ่นชื้นภาคพื้นทวีป ลักษณะอากาศของเขตนี้ คือ ฤดูหนาวมีอากาศหนาวเย็น เพราะอยู่ลึกเข้าไปในใจกลางทวีป จึงไม่ค่อยได้รับอิทธิพลจากมหาสมุทร พืชพรรณธรรมชาติได้แก่ ป่าไม้ผลัดใบและไม่ผลัดใบผสมกัน ส่วนบริเวณที่มีฝนตกน้อย พืชพรรณธรรมชาติจะเป็นทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น บริเวณลักษณะอากาศแบบนี้ คือ ดินแดนของประเทศโปแลนด์ สาธารณรัฐเช็ก สโลวาเกีย เอสโตเนีย และลัตเวีย
4. เขตภูมิอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก ลักษณะของอากาศในเขตนี้ คือ ฤดูร้อนอากาศเย็นสบาย ฤดูหนาวอากาศไม่หนาวจัด เพราะเขตนี้มีที่ตั้งอยู่ใกล้มหาสมุทร จึงได้รับอิทธิพลจากมหาสมุทรแอตแลนติก ทำให้เขตนี้มีอากาศอบอุ่น ชุ่มชื้น ฝนตกสม่ำเสมอตลอดทั้งปี ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยของทั้งปีอยู่ที่ 750-1,500 มิลลิเมตร พืชพรรณธรรมชาติเป็นป่าไม้เขตอบอุ่นชนิดป่าไม้ผลัดใบผสมกับป่าสน บริเวณลักษณะอากาศแบบนี้ ครอบคลุมบริเวณของประเทศฝรั่งเศส เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก เยอรมนี สหราชอาณาจักร และทางตอนใต้ของนอร์เวย์และสวีเดน
5. เขตภูมิอากาศอบอุ่นชื้น ลักษณะอากาศของเขตนี้ คือ อากาศอบอุ่น ฤดูร้อนอากาศร้อน มีฝนตกชุกตลอดทั้งปี ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปีประมาณ 500-1,000 มิลลิเมตร พืชพรรณธรรมชาติ ได้แก่ ป่าไม้เขตอบอุ่นหรือทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น บริเวณลักษณะอากาศแบบนี้ ได้แก่ บริเวณคาบสมุทรบอลข่าน ออสเตรีย และฮังการี
6. เขตภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน ลักษณะอากาศในเขตนี้ คือ เป็นเขตที่มีแสงแดดตลอดทั้งปี ฤดูร้อนอากาศร้อนและแห้งแล้ง ฤดูหนาวจะมีฝนตก ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยประมาณ 500-1,000 มิลลิเมตรต่อปี พืชพรรรณธรรมชาติเป็นเขตอบอุ่น เรียกว่า ป่าไม้เมดิเตอร์เรเนียน เช่น คอร์กโอ๊ก ส้ม มะนาว องุ่น มีป่าไม้มีหนามแหลม เรียกว่า ป่ามากี (maquis) บริเวณที่มีลักษณะอากาศแบบนี้ คือ บริเวณที่มีอาณาเขตติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ได้แก่ ภาคใต้ของประเทศฝรั่งเศส อิตาลี สเปน โปรตุเกส เซอร์เบีย และกรีซ
7. เขตภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย ลักษณะสำคัญของอากาศในเขตนี้ คือ เป็นเขตที่มีปริมาณฝนน้อย ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปีต่ำกว่า 500 มิลลิเมตร พืชพรรณธรรมชาติเป็นทุ่งหญ้าขึ้นเบาบาง


อาชีพและทรัพยากร
1. การเพาะปลูก เขตเพาะปลูกอยู่ในยุโรปตะวันตก ภาคตะวันออกและภาคใต้ของอังกฤษ ภาคเหนือและภาคตะวันตกของฝรั่งเศส ตอนเหนือของเยอรมนี ยูเครน พืชที่สำคัญคือ
1. ข้าวสาลี ปลูกได้มากที่สุดคือ ยูเครน รองลงไปคือ ฝรั่งเศส อิตาลี สเปน โรมาเนีย บัลแกเรีย เยอรมนี ฮังการี
2. ข้าวโอ๊ต ข้าวบาร์เลย์ ข้าวไรย์ ถั่ว มันฝรั่ง ปลูกได้โดยทั่วไป
3. องุ่น ส้ม มะกอก มะนาว แอปเปิลและผลไม้ชนิดต่างๆ ปลูกได้มากเขตอากาศแบบเมดิเตอร์เนียน ได้แก่ประเทศอิตาลี ฝรั่งเศส สเปน กรีซ
4. ต้นแฟล็กซ์ ใช้ใบทำป่านลินิน ปลูกมากในโปแลนด์ เบลเยียม ไอร์แลนด์
2. การเลี้ยงสัตว์ เลี้ยงไปตามลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ
1. เขตทุนดรา มีการเลี้ยงกวางเรนเดียร์
2. เขตทุ่งหญ้าสเตปป์ มีการเลี้ยงโคเนื้อ แพะ แกะ ม้า
3. เขตเมดิเตอร์เรเนียน มีการเลี้ยงโคเนื้อ และแกะ
4. เขตภูเขาสูง และที่ราบสูง มีการเลี้ยงโคเนื้อ โคนม แกะ
5. เขตอบอุ่นชื้นตอนเหนือของคาบสมุทรบอลข่าน มีการเลี้ยงสุกรด้วยข้าวโพด
6. เขตภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก มีการทำฟาร์มโคนม
3. การทำป่าไม้ พบมากในประเทศฟินแลนด์ สวีเดน รัสเซีย นอร์เวย์ ในบริเวณป่าสน ซึ่งเป็นไม้เนื้ออ่อน นำมาผลิตเป็นเยื่อกระดาษ
4. การประมง แหล่งประมงที่สำคัญ ได้แก่
1. ทะเลเหนือ โดยเฉพาะบริเวณที่กระแสน้ำอุ่นแอตแลนติกเหนือบรรจบกับกระแสน้ำเย็นกรีนแลนด์ตะวันออก เกิดเป็นแหล่งที่มีปลาชุกชุมมากแห่งหนึ่งของโลกเรียกว่า ดอกเกอร์แบงก์ ประเทศที่จับปลาได้มาก สหราชาอาณาจักร ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์
2. บริเวณอ่าวบิสเคย์จนถึงทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยเฉพาะบริเวณทะเลดำ ทะเลสาบแคสเปียนและแม่น้ำโวลกา มีการจับปลาสเตอร์เจียน มาทำเป็นไข่ปลาคาร์วียร์
5. การทำเหมืองแร่ ยุโรปเป็นทวีปที่มีแร่เหล็กและถ่านหินอุดมสมบูรณ์
1. ถ่านหิน แหล่งสำคัญอยู่ทางภาคเหนือของสหราชอาณาจักร ภาคกลางของเบลเยียม ลุ่มแม่น้ำรูห์ของเยอรมนี ภาคใต้ของโปแลนด์ ภาคเหนือของเช็ก สโลวัก ยูเครน ไซบีเรียของรัสเซีย
2. เหล็ก แหล่งสำคัญคือ
1. แหล่งคิรูนาและเยลีวาร์ทางตอนเหนือของสวีเดน
2. แหล่งคริวอยร็อกในยูเครน
3. แหล่งลอเรนซ์ทางตะวันออกเฉียงใต้ของฝรั่งเศส
3. น้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ แหล่งสำคัญของยุโรปอยู่ในบริเวณทะเลเหนือ และรอบๆทะเลสาบแคสเปียน
4. บอกไซต์ เมื่อนำถลุงแล้วได้อะลูมิเนียม แหล่งผลิตสำคัญอยู่ทางภาคใต้ของฝรั่งเศส ยูโกสลาเวีย ฮังการี เทือกเขาอูราลในรัสเซีย
5. โพแทช ใช้ในอุตสาหกรรมปุ๋ยและสบู่ แหล่งผลิตอยู่ในประเทศฝรั่งเศส เยอรมนี สเปน รัสเซีย
6. อุตสาหกรรม ยุโรปได้ชื่อว่าเป็นทวีปอุตสาหกรรม เพราะเกือบทุกประเทศประชากร ผู้ใช้แรงงานส่วนใหญ่อยู่ในภาคอุตสาหกรรม แหล่งอุตสาหกรรมส่วนใหญ่อยู่ในยุโรปตะวันตก เช่น สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี เนเธอร์แลนด์ ส่วนยุโรปตะวันออกอยู่ใน รัสเซีย ยูเครน เบลารุส
7. การค้าขาย เนื่องจากยุโรปความเจริญก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ทำให้ยุโรปมีการติดต่อค้าขายกับภูมิภาคอื่นและมีการตั้งกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น
1. สหภาพยุโรป (EU-European Union)
2. สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป (EFTA-European Free Trade Association) ตลาดการค้าขายระหว่างประเทศ ได้แก่ ประเทศต่างๆที่อยู่ในยุโรปและประเทศอเมริกาเหนือ
8. การคมนาคมขนส่ง ยุโรปเป็นทวีปที่มีการคมนาคมขนส่งเจริญก้าวหน้ามาก
1. ทางรถยนต์ มีทางหลวงเชื่อมระหว่างเมือง เขตอุตสาหกรรมและประเทศต่างๆ มีระยะทางยาวประมาณ 1 ใน 5 ของทางรถยนต์ของโลก
2. ทางรถไฟ ทวีปยุโรปมีทางรถไฟยาว 1 ใน 3 ของทางรถไฟในโลก ประเทศที่มีทางรถไฟยาวเมื่อเฉลี่ยต่อเนื้อที่แล้วมากที่สุด คือ เบลเยียม รองลงมาคือ สหราชอาณาจักร สวิตเซอร์แลนด์ เมืองที่เป็นศูนย์กลางการคมนาคมทางรถไฟคือ ปารีส ลอนดอน เบอร์ลิน วอร์ซอ มอสโก
3. ทางอากาศ แต่ละประเทศต่างก็มีสายการบินเป็นของตนเอง ใช้ติดต่อระหว่างเมืองภายในประเทศ ระหว่างประเทศ และระหว่างทวีป ศูนย์กลางการบินส่วนใหญ่เป็นเมืองหลวงของแต่ละประเทศ
4. ทางน้ำ แม่น้ำสำคัญที่ใช้ในการคมนาคมขนส่งภายในประเทศและระหว่างประเทศ ได้แก่ แม่น้ำไรน์ แม่น้ำเซน แม่น้ำดานูบ แม่น้ำโวลกา แม่น้ำโอเดอร์ และมีการขุดคลองเพื่อการคมนาคม เช่น คลองคีล ในเยอรมนี เชื่อมระหว่างทะเลบอลติกกับทะเลเหนือ คลองมีดีในฝรั่งเศสเชื่อมทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับมหาสมุทรแอตแลนติก


C’est moi



C’est moi

Je m'appelle  wisunee KANHA
Je suis né 24 mars 1996
J'ai 16 ans
Je suis l'élève de Wangklaikangvol  l'école
Ma famille
Mon père s'appelle  wichar KANHA
Il suis ne 26 mars 1962
Il a 50 ans
Mon Ma mère s'appelle sunee
KANHA


Elle suis né 18 juin 1963
Elle a 49 ans
J'ai un frère
Il s'appelle chatchai KANHA
Il suis né   12 janvier 1989
Il a 23 ans
Nous habitons à   Hua-Hin en Thaïlande
J'aime la musique
J'aime la France
Je n'aime pas de sport